ส่วนลดพิเศษ 10% บริการส่งด่วนฟรี หาเจอทุกเล่ม บริการส่งหนังสือตามสั่ง บริการเก็บเงินปลายทาง
5.2% OFF

หลักกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มรดก (SUCCESSION LAW) ปรีดา โชติมานนท์

Original price was: 250.00 ฿.Current price is: 237.00 ฿.

หมวดหมู่:

คำอธิบาย

แชร์

สารบัญ
บทนำ
1. ประวัติความเป็นมาของกฎหมายมรดกไทย
2. ขอบเขตกฎหมายมรดก
บทที่ 1 ความหมายของมรดก (Definition of Estate)
1. ทรัพย์สิน สิทธิ หน้าที่และความรับผิดในขณะถึงแก่ความตาย
2. สิทธิ หน้าที่และความรับผิดซึ่งตามกฎหมาย
หรือโดยสภาพเป็นการเฉพาะตัว
3. สิทธิ หน้าที่และความรับผิดที่ไม่ถือว่าตามกฎหมายหรือโดยสภาพเป็นการเฉพาะตัว
บทที่ 2 การตกทอดแห่งทรัพย์มรดก (Devolution of Estate)
1. ความตายของบุคคล
1.1 ตายโดยธรรมชาติ
1.2 ตายโดยผลของกฎหมาย
2. มรดกตกทอดแก่ทายาท
3. ความรับผิดของทายาท
3.1 สิทธิของเจ้าหนี้ในการฟ้องทายาท
3.2 การฟ้องทายาท
บทที่ 3 สิทธิโดยธรรมในการรับมรดก(Statutory Right of Inheritance)
1. ความหมายของทายาท
2. สภาพและความสามารถของบุคคลที่จะเป็นทายาท
2.1 บุคคลธรรมดา
2.2นิติบุคคล
3. ทายาทที่มีสิทธิตามกฎหมาย (ทายาทโดยธรรม)
3.1 ทายาทโดยธรรมประเภทญาติ
3.2 ทายาทโดยธรรมประเภทคู่สมรส
4.ทายาทที่มีสิทธิตามพินัยกรรม (ผู้รับพินัยกรรม)
บทที่ 4 ส่วนแบ่งมรดก (Inheritance Share)
1.เจ้ามรดกมีทายาทโดยธรรมที่เป็นญาติอย่างเดียว
โดยไม่มีคู่สมรสบทที่ 5 การรับมรดกแทนที่ (Inheritance Representation)
2. เจ้ามรดกมีคู่สมรสและมีทายาทโดยธรรมที่เป็นญาติการรับมรดกแทนที่ใช้บังคับเฉพาะทายาทโดยธรรมประเภทญาติ
2. การรับมรดกแทนที่มีได้เฉพาะทายาทโดยธรรมตามมาตรา 1629 (1) (3) (4) หรือ (6) เท่านั้น
3. ผู้ที่จะเป็นทายาทโดยธรรมตามมาตรา 1629 (1) (3) (4)
และ (6) ต้องถึงแก่ความตายหรือถูกกำจัดมิให้รับมรดกก่อนเจ้ามรดกถึงแก่ความตาย
4. ผู้สืบสันดานที่จะรับมรดกแทนที่ ตายหรือถูกกำจัดมิให้รับมรดกก่อนเจ้ามรดกตาย
5. ผู้รับมรดกแทนที่ต้องเป็นผู้สืบสันดานโดยตรง
6. ผู้รับมรดกแทนที่ต้องมีสิทธิบริบูรณ์ในการรับมรดก
7. ผู้สละมรดกยังมีสิทธิรับมรดกแทนที่บุคคลอีกคนหนึ่งในการสืบมรดกบุคคลอื่นได้
บทที่ 6 ทรัพย์สินของพระภิกษุ (Property of Monks)
พระภิกษุเป็นทายาท
2. พระภิกษเป็นเจ้ามรดก
2.1 กรณีทรัพย์สินที่พระภิกษุได้มา
ระหว่างอยู่ในสมณเพศ
2.2 ทรัพย์สินที่พระภิกษุได้มาก่อนอุปสมบทเป็นพระภิกษุ
บทที่ 7 การเสียสิทธิในการรับมรดก
(Loss of Inheritance Rights)
1. การกำจัดมิให้รับมรดก (Exclusion)
1.1การกำจัดฐานยักย้ายหรือปิดบังทรัพย์มรดก
1.1.1หลักเกณฑ์การถูกกำจัดฐานยักย้ายหรือปิดบังทรัพย์มรดก
1.1.2ผลของการถูกกำจัดมิให้รับมรดกฐานยักย้ายหรือปิดบังทรัพย์มรดก
1.2 การถูกกำจัดมิให้รับมรดกฐานเป็นผู้ไม่สมควร
1.2.1หลักเกณฑ์การถูกกำจัดมิให้รับมรดกฐานเป็นผู้ไม่สมควร
1.2.2ผลการถูกกำจัดมิให้รับมรดกฐานเป็นผู้ไม่สมควร
1.2.3การถอนการถูกกำจัดมิให้รับมรดกฐานเป็นผู้ไม่สมควร
2. การตัดมิให้รับมรดก (Disinheritance)
2.1 หลักเกณฑ์การตัดมิให้รับมรดก
2.1.1 การตัดมิให้รับมรดกด้วยการทำพินัยกรรม
2.1.2การตัดมิให้รับมรดกด้วยการทำเป็นหนังสือ
มอบไว้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่
2.:2 ผลของการตัดมิให้รับมรดก
2.3 การถอนการตัดมิให้รับมรดกการสละมรดก (Renunciation of Inheritance)
3.1ความสามารถในการสละมรดก
3.2 วิธีการสละมรดก
3.2.1ทำเป็นหนังสือมอบไว้แก่
พนักงานเจ้าหน้าที่
3.2.2 ทำเป็นสัญญาประนีประนอมยอมความ
3.3 หลักเกณฑ์การสละมรดก
3.4 ผลของการสละมรดก
3.5 การเพิกถอนการสละมรดกการเสียสิทธิโดยอายุความ (Prescription)
4.1 ความหมายของคดีมรดก
4.2 อายุความมรดก
4.2.1 อายุความฟ้องคดีของทายาทโดยธรรม
4.2.2 อายุความฟ้องคดีของผู้รับพินัยกรรม
4.2.3 อายุความฟ้องคดีของเจ้าหนี้กองมรดก
4.3 สิทธิในการยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้
บทที่ 8 พินัยกรรม (Will)
1. ความหมายและลักษณะของพินัยกรรม
2. ความสามารถของผู้ทำพินัยกรรม
3. ความสามารถของผู้รับพินัยกรรม
4. 1ปะเภทของผู้รับพินัยกรรม
ผู้รับพินัยกรรมลักษณะทั่วไป
4.2 ผู้รับพินัยกรรมลักษณะเฉพาะ
5. บุคคลต้องห้ามมิให้เป็นผู้รับพินัยกรรม
6. ผู้เขียนพินัยกรรม
7. พยานในพินัยกรรม
8. แบบของพินัยกรรม
8.1 พินัยกรรมแบบธรรมดา
8.2 พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ
8.3 พินัยกรรมแบบทำเองเป็นเอกสารฝ่ายเมือง
8.4 พินัยกรรมแบบทำเป็นเอกสารลับ
8.5 พินัยกรรมแบบทำด้วยวาจา
9. ผลของพินัยกรรม
10. การเพิกถอนพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
11. การตกไปของพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
12. ความเสียเปล่าของพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
บทที่ 9 การจัดการมรดกและการแบ่งปันทรัพย์มรดก
(Administration & Distribution of Estate)
1. ผู้จัดการมรดก /การตั้งผู้จัดการมรดก
1.2 จำนวนและคุณสมบัติของผู้จัดการมรดก
1.3 การเริ่มต้นหน้าที่ของผู้จัดการมรดก
1.4 สิทธิและหน้าที่ของผู้จัดการมรดก
1.5 หลักในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้จัดการมรดก
1.6 การสิ้นสุดของการเป็นผู้จัดการมรดก
1.7 อายุความฟ้องคดีเกี่ยวกับการจัดการมรดก
2. การรวบรวมทรัพย์มรตกและการชำระหนี้กองมรดก
2.1 การรวบรวมทรัพย์มรดก
2.2 การชำระหนี้กองมรดก
3. การแบ่งปันทรัพย์มรดก
3.1 สิทธิและหน้าที่เกี่ยวกับทรัพย์มรดก
3.2 วิธีแบ่งปันทรัพย์มรดกมรดกที่ไม่มีผู้รับ
ภาคผนวก
ถาม – ตอบ วิชากฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยมรดก
– ความหมายของมรดก/ทรัพย์สินของพระภิกษุ
– การเสียสิทธิในการรับมรดก/ส่วนแบ่งมรดก/การรับมรดกแทนที่
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยี
ช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558
บรรณานุกรม
ดัชนีคำศัพท์
ประวัติผู้เขียน
Facebook Comments

แชร์
Cart
Your cart is currently empty.